พวกตะแบงหาช่องโหว่ของกฎหมายมาเล่นกันแล้วประชาชนตาดำ ๆ จะได้อะไรกัน มีการวิ่งเต้นเข้าหารับผลประโยชน์กันอย่างเห็นได้ชัดทั้งอดีตและปัจจุบัน ช่างน่าละอายครับ
อัยการ กับ ผู้พิพากษา ต่างกันอย่างไรขอถามแบบโง่ๆ ดูข่าวหลายทีแล้วไม่เข้าใจกระบวนการ
ยิ่งออกอะไรป้องกันตัวเอง ยิ่งจะเสื่อม
อัยการเหมือนทนายฝ่ายผู้กล่าวหาจำเลยครับ จะเป็นของโจทก์คือคู่กรณีกับจำเลย หรือเป็นของราชการ ถ้ามีเรื่องกับทางกฏหมาย เขาก็จะกล่าวดทษหาเรื่องผู้ถูกกล่าวหาไป ทนายของทางจำเลยก็จะแก้ต่างให้จำเลย ขัดแย้งไปเป็นเปลาะๆ หักล้างกันแล้วผู้พิพากษาจะฟังแล้วตัดสินว่าแกเชื่อฝ่ายไหนแน่
ประมาณนั้นครับ ขอบคุณมากครับตำรวจจะเสนอสำนวนการสอบสวนต่ออัยการ อัยการเป็นจะเป็นผู้วินิจฉัยว่าพยานหลักฐานจากการสอบสวนพียงพอที่จะพิสูจน์ให้รับฟังได้โดยปราศจากข้อสงสัยหรือไม่ว่าผู้ต้องหาเป็นผู้กระทำความผิดตามข้อกล่าวหา หากเห็นว่าเพียงพออัยการก็จะสั่งฟ้องหากเห็นว่าไม่เพียงพอก็จะสั่งไม่ฟ้อง
ขอบคุณมากครับ พอเข้าใจแล้วครับ
เป็นแบบนี้เองครับ ที่ทางอัยการสั่งไม่ฟ้องหลายๆคดี
พวกตะแบงหาช่องโหว่ของกฎหมายมาเล่นกันแล้วประชาชนตาดำ ๆ จะได้อะไรกัน มีการวิ่งเต้นเข้าหารับผลประโยชน์กันอย่างเห็นได้ชัดทั้งอดีตและปัจจุบัน ช่างน่าละอายครับ
ReplyDeleteอัยการ กับ ผู้พิพากษา ต่างกันอย่างไร
ReplyDeleteขอถามแบบโง่ๆ ดูข่าวหลายทีแล้วไม่เข้าใจกระบวนการ
ยิ่งออกอะไรป้องกันตัวเอง ยิ่งจะเสื่อม
ReplyDeleteอัยการเหมือนทนายฝ่ายผู้กล่าวหาจำเลยครับ จะเป็นของโจทก์คือคู่กรณีกับจำเลย หรือเป็นของราชการ ถ้ามีเรื่องกับทางกฏหมาย เขาก็จะกล่าวดทษหาเรื่องผู้ถูกกล่าวหาไป ทนายของทางจำเลยก็จะแก้ต่างให้จำเลย ขัดแย้งไปเป็นเปลาะๆ หักล้างกัน
ReplyDeleteแล้วผู้พิพากษาจะฟังแล้วตัดสินว่าแกเชื่อฝ่ายไหนแน่
ประมาณนั้นครับ ขอบคุณมากครับ
ReplyDeleteตำรวจจะเสนอสำนวนการสอบสวนต่ออัยการ อัยการเป็นจะเป็นผู้วินิจฉัยว่าพยานหลักฐานจากการสอบสวนพียงพอที่จะพิสูจน์ให้รับฟังได้โดยปราศจากข้อสงสัยหรือไม่ว่าผู้ต้องหาเป็นผู้กระทำความผิดตามข้อกล่าวหา หากเห็นว่าเพียงพออัยการก็จะสั่งฟ้องหากเห็นว่าไม่เพียงพอก็จะสั่งไม่ฟ้อง
ขอบคุณมากครับ พอเข้าใจแล้วครับ
ReplyDeleteเป็นแบบนี้เองครับ ที่ทางอัยการสั่งไม่ฟ้องหลายๆคดี
ReplyDelete